พจนานุกรม
ภาษาล้านนา-ไทย, ไทย-ล้านนา
โดย อ.จรีย์ สุนทรสิงห์
ออกเสียงล้านนา
ฝนห่าแก้ว
อักษรล้านนา
ฝ฿นฯห่าแก้วฯ
เทียบอักษรไทย
[ฝนห่าแก้ว]
ความหมาย
น.แก้วมณีจำนวนมากที่ตกลงมาจากฟากฟ้าราวกับห่าฝน (มหาชาติภาคพายัพ ฉบับสร้อยสังกร นครกัณฑ์ "........พญาอินตาต๋นผ่านแผ้ว ก็หื้อฝนห่าแก้วเจ็๋ดผะก๋าร ต๋กลงมาซะซ่านส๋ะสาด ต๋กลงมาระราดระรม เป๋นแก้วอุดมแฅวนยิ่ง บ่ไจ้แก้วขิ่งจั๊ดแหง เป๋นแก้วแปงกวรก้า หยวาดแต่ฟ้าลงดิน...."); ดู...ฝนโบกขะระปั๊ส
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
กวฯาวฯ
เทียบอักษรไทย
[กวาว]
ความหมาย
น.ทองกวาว - ไม้ต้น ดอกสีแสดหรือเหลือง ออกเป็นช่อกระจุกที่ปลายกิ่งหรือกิ่งข้าง ผลเป็นฝักแบน
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
กาปฯ
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
น. เปลือกหุ้มชั้นนอกของลำต้น ผล หรือช่อดอก ของพืชบางชนิด เช่นกาบกล้วย กาบข้าวโพด,เปลือกแข็งที่หุ้มหอย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
ฅ฿ปฯ£าแ£งฯ
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ก.เคารพยำเกรง; ฅบยำแยง ก็เขียน
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
บ่ ที่ไม่เขียนในช่อง "เทียบเสียงล้านนา" เป็น "บ่อ" ซึ่งในที่นี้เขียน "บ่" เพราะมีคำต้องใช้ "บ่" มาก บ่ กับ บ่อ มีความหมายต่างกัน เช่น บ่อน้ำ บ่อเลี้ยงปลา บ้านบ่อสร้าง
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เหิ่มฯเหิ่อฯ
เทียบอักษรไทย
[เหิ่มเห่อ]
ความหมาย
ว.เหิ่มเห่อ - เป็นอีกคำหนึ่งที่ชาวเหนือ (คนเมือง) ใช้เรียกลักษณะของผลไม้ ''ห่าม'' ใกล้จะสุก; ดู...เหิ่ม
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
ดอฯกจุมปี
เทียบอักษรไทย
[ดอกจุมปี]
ความหมาย
ดู...ดอกจ๋ำปี๋
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เตั่า
เทียบอักษรไทย
[เต่า]
ความหมาย
น1.เต่า - สัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง มี ๔ ขา ตัวมีกระดองแข็งหุ้มหัวโผล่ออกมาจากกระดอง มีหลายชนิดทั้งอาศัยอยู่ในน้ำจืดและในทะเล; น2.กบไสไม้; ก.ไสไม้
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เตั่า
เทียบอักษรไทย
[เต่า]
ความหมาย
น1.เต่า - สัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง มี ๔ ขา ตัวมีกระดองแข็งหุ้มหัวโผล่ออกมาจากกระดอง มีหลายชนิดทั้งอาศัยอยู่ในน้ำจืดและในทะเล; น2.กบไสไม้; น3.เต่า - ชื่อของ ''แม่วัน'' ที่เรียกว่า ''แม่มื้อ'' อันดับที่ 9 ในจำนวน 10 ได้แก่ กาบ ดับ รวาย เมือง เปิก กัด กด ร้วง ''เต่า'' ก่า; ดู...วันไท
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เตั่า
เทียบอักษรไทย
[เต่า]
ความหมาย
น๓.กบไสไม้ ก.ไสไม้
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
ไม้ขยอฯม
เทียบอักษรไทย
[ไม้ขะยอม]
ความหมาย
น.ไม้พะยอม - ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ เปลือกต้นสีเทาเข้ม ใบรูปรี แผ่นใบเรียบเกลี้ยงเป็นมัน ดอกสีขาวออกเป็นช่อขนาดใหญ่ มีกลิ่นหอม
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
ร
เทียบอักษรไทย
ร
ความหมาย
ร (ระ) "ระหน้อย" เทียบตัว "ร" เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น และตัวสะกดใน "แม่กน" แทนตัว น (นะ) ในกรณีที่ตัวสะกดตามหลังด้านขวาของพยัญชนะต้น และออกเสียงเป็น "ละ" เมื่อเป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอื่นหรือคำที่เป็นชื่อเฉพาะ ตามปกติคำที่เป็นภาษาล้านนาหรือภาษาไทยดั้งเดิมนั้น ร (ระ) ออกเสียง เป็น ฮ (ฮะ) เช่น เรา รัก เรียน ออกเสียงเป็น เฮา ฮัก เฮียน
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
ร
เทียบอักษรไทย
ร
ความหมาย
ร (ระ) "ระหน้อย" เทียบตัว "ร" เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น และตัวสะกดใน "แม่กน" แทนตัว น (นะ) ในกรณีที่ตัวสะกดตามหลังด้านขวาของพยัญชนะต้น และออกเสียงเป็น "ละ" เมื่อเป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอื่นหรือคำที่เป็นชื่อเฉพาะ และมีการออกเสียงเป็น "หละ" บ้าง ซึ่งมีไม่มาก ตามปกติคำที่เป็นภาษาล้านนาหรือภาษาไทยถิ่นเหนือดั้งเดิมนั้น ร (ระ) ออกเสียง เป็น ฮ (ฮะ) เช่น เรา รัก เรียน ออกเสียงเป็น เฮา ฮัก เฮียน (สรุป ภาษาพูด ออกเสียง "ฮ-ฮ" ภาษาเขียน เขียน "ร-ร"): ดูที่...อักษร "ฮ"
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เผิ่อฯอรู้พํอฯวาฯยฯ
เทียบอักษรไทย
[เผื่อรู้พอวาย่]
ความหมาย
ว.กว่าจะรู้ตัวก็สายเสียแล้ว
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
เนื่องจากคำนี้ไม่มีใช้ในภาษาไทย ไม่มีอักษรไทย จึงใช้ ''อ'' และ ''ย'' มาเรียงชิดติดกัน แ่ต่พจนานุกรมนี้ใช้ ''อฺยฺ'' แทน ส่วนการออกเสียงไม่ขึ้นจมูก แทนด้วย ''ยฺ''
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
เทียบอักษรไทย
ความหมาย
ออกเสียงล้านนา
อักษรล้านนา
ปลฯฯาระฯกทิงฯ
เทียบอักษรไทย
[ปลากระทิง]
ความหมาย
น.ปลากระทิง ภาษาถิ่นเหนือเรียก ''ป๋าหลาด''; ดู...ป๋าหลาด
ฝนห่าแก้ว (ฝ฿นฯห่าแก้วฯ)