หน้าหลัก
ออกเสียงล้านนา
ดอกแก้ว
อักษรล้านนา
ดอฯกแก้วฯ
เทียบอักษรไทย
[ดอกแก้ว]
ความหมาย

น.ดอกพิกุล ภาษาถิ่นเหนือ(กำเมือง) เรียก ''ดอกแก้ว'': พิกุล หรือ แก้ว - เป็นไม้ต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 8-15 เมตร เปลือกต้นสีน้ำตาลเทา มีรอยแตกระแหงตามยาว ใบมนรูปไข่หรือไข่แกมหอก ดอกออกเดี่ยวๆ หรือเป็นกระจุก 2-6 ดอก ตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง สีขาวนวล มีกลิ่นหอมเย็น กลิ่นยังคงอยู่แม้ตากแห้งแล้ว เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.8-1.5 ซ.ม. กลีบดอกจักแหลม เรียงกันเป็น ๒ ชั้น ชั้นนอกมี 8 กลีบ ชั้นใน 16 กลีบ ดอกร่วงง่าย เมื่อใกล้โรยเป็นสีเหลืองอมน้ำตาล ผลรูปไข่ปลายแหลม ผลอ่อนสีเขียว ผลสุกสีเหลืองถึงส้ม รสหวานเล็กน้อย เมล็ดแบนรี มีเมล็ดเดียว เปลือกแข็ง สีน้ำตาลเข้มหรือดำเป็นมัน ออกดอกติดผลตลอดปี

เชิญร่วมแสดงความคิดเห็นและยกตัวอย่างประโยคที่ใช้คำนี้
ดอกแก้ว (ดอฯกแก้วฯ)