หน้าหลัก

เรียน 10 คำใหม่

ออกเสียงล้านนาอักษรล้านนาเทียบอักษรไทยความหมาย
ต๋าวันจ๊ายตาวันฯช้ายฯ[ตาวันช้าย]น.เวลาบ่าย,ตอนบ่าย
งวีกงีวฯก[งวีก]ก.แยกจากกันเล็กน้อย; งีก ก็ว่า
ษ ออกเสียง ษ๋ะษ (ษ๋ะ) เป็นอักษรสูง พบครั้งแรกในฐานะพยัญชนะต้น ในศิลาจารึกวัดช้างค้ำ อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน ที่จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๙๑ ซึ่งปรากฏร่วมกับอักษร ศ (ศ) และ ฤ (ฤ) ซึ่งใช้ในศัพท์ภาษาสันสกฤต แต่ปรากฏในฐานะพยัญชนะตัวสะกดในบันทึกส่งท้ายในการจารใบลานก่อนหน้านั้นแล้ว ไม่ปรากฏการใช้ทั่วไปในฐานะพยัญชนะต้น แล้วปรากฏใช้อีกระยะหนึ่งในรัชสมัยของพระเจ้ากาวิละแห่งเชียงใหม่ คือช่วงประมาณ พ.ศ.๒๓๓๐ แต่เป็นอักษรที่เรียกว่า "อักษรไทยนิเทศ" หรือ "อักษรขอมไทย" ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นเพราะได้รับอิทธิพลจากไทธนบุรี ส่วนแง่ที่ปรากฏฐานะพยัญชนะตัวสะกดนั้น จากการศึกษาของ ก่องแก้ว วีระประจักษ์ และ นิยะดา ทาสุคนธ์ พบว่าเป็นกระบวนการคลี่คลายมาจากการใช้ ษ-ษ ที่ใช้ในฐานะตัวสะกดมากกว่า ยังไม่พบการใช้พยัญชนะนี้ที่ปรากฏในภาษาล้านนาแง่ของพยัญชนะต้นของศัพท์ ที่มีอยู่นั้นมักเป็นพยางค์ที่สองของศัพท์ และที่พบแล้วก็มีจำนวนน้อยอีกด้วย เช่น รกษฯฯา-รักษา, รษี-รษี ซึ่งเห็นได้ว่ามีร่องรอยมาจากภาษาสันสกฤตอย่างชัดเจน (จาก-พจนานุกรมล้านนา-ไทย ฉบับแม่ฟ้าหลวง. ฉบับปรับปรุงครั้
เจ้าเก๊าเจั้าเคั้าฯ[เจ้าเค้า]น.เจ้าภาพ,ประธาน,ผู้ริเริ่ม
ปี๋ซืนปีซืนฯ[ปีซืน]น.ปีก่อนปีที่แล้ว
อยฺ่างหยฺายอยฯางฯอยฯายฯ[อฺยฺ่างอฺยฺาย]ก.ตะกาย - ก้าวขึ้นที่สูงโดยการก้าวเท้ายาวๆ ช้าๆ
หละบำหลฯะบำฯ[หละบำ]น.ระบำ - การฟ้อนรำเป็นชุดกัน ก.ฟ้อนรำเป็นชุดกัน
เต๊าฮอดเทั้าฯรอฯด[เท้ารอด]ก.จนถึง,จนกระทั่ง
มดลิ้นหน้าม่อยม฿ดฯลิ้นฯห้นฯาม่อฯยฯ[มดลิ้นหน้าม่อย]น.มดตะนอยชนิดหนึ่ง ตัวสีเทา; มดหน้า หมอง,มดหน้าม่อย ก็ว่า
หล้อมแหล้มก้อมแก้มห้ลฯอฯมแห้ลฯมก้อฯมแก้มฯ[หล้อมแหล้มก้อมแก้ม]ก.แอบหนีไปโดยไม่บอกใคร