หน้าหลัก
ออกเสียงล้านนา
มดง่าม
อักษรล้านนา
ม฿ดฯง่ามฯ
เทียบอักษรไทย
[มดง่าม]
ความหมาย

น.มดง่าม - ภาษาไทยถิ่นเหนือ (คำเมือง) ก็เรียก ''มดง่าม'' เช่นเดียวกับภาษาไทยกลาง: มดง่าม มีลักษณะสีน้ำตาลเข้ม กรามใหญ่ หนวดมี 4-12 ปล้อง ส่วนมากมี 12 ปล้อง เว้าลง ลำตัวแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือหัว อก และท้อง อกปล้องแรกและปล้องกลาง มีลักษณะนูน ปล้องสุดท้ายเว้าลง ส่วนท้องกว้าง รูปไข่ ลำตัวยาว 4.5-13 ม.ม. มดง่ามไม่มีเหล็กใน อาวุธของมันมีเพียงง่ามปากกัด พิษของมันอยู่ที่คมกราม ทำให้เกิดอาการเจ็บคัน และ ชา เป็นผื่น; สถานที่ทำรังของมดง่ามมีหลายรูปแบบ ได้แก่ ใต้พื้นดิน ใต้ใบไม้ผุ ขอนไม้ผุ ใต้ก้อนหิน เป็นต้น; มดง่ามไม่กินน้ำหวาน หรือน้ำตาล อาหารหลักของมันคือ เมล็ดพืช และซากสัตว์ มันจะขนอาหารสะสมไว้ในโพรงใต้ดินเพื่อกินในหน้าแล้งอย่างพอเพียง

เชิญร่วมแสดงความคิดเห็นและยกตัวอย่างประโยคที่ใช้คำนี้
มดง่าม (ม฿ดฯง่ามฯ)